http://www.mindbrainchildactivity.com
  
สร้างเว็บไซต์Engine by iGetWeb.com

หน้าแรก

 โปรแกรม Mind Brain

การทดสอบของศูนย์

 บทความน่าสนใจ

 ให้คำปรึกษาปัญหาเด็ก

 ภาพสถานที่

 ศูนย์กระตุ้นพัฒนาการเด็กเชียงใหม่

งานวิจัยที่น่าสนใจ

สมาธิสั้น (ADHD) vs (SPD)

พัฒนาการเด็ก Developmental

การบูรณาการประสาทความรู้สึกสมองของเด็ก SI

หนังสือแนะนำ

22 เหตุผลที่ทำไมเด็กถึงนั่งนิ่งๆ อยู่กับที่ไม่ได้

บุตรของท่านมีปัญหาพฤติกรรม หรือปัญหาเกิดจากความบกพร่องของการบูรณาการประสาทความรู้สึก

เคล็ดลับสำหรับเด็กที่มีปัญหาการบูรณาการระบบประสาทความรู้สึก (Sensory Processing Disorder) ไม่ให้วุ่นวายในฤดูการท่องเที่ยว

เมื่อปัญหาในการบูรณาการประสาทความรู้สึกสมองส่งผลกระทบต่อการพัฒนาทักษะทางสังคมของเด็ก

เด็กติดแม่ งอแง ร้องไห้ ไม่ยอมไปโรงเรียน อาจเป็นสัญญาณของปัญหาความเครียด หรือปัญหาภาวะวิตกกังวลต่อการแยกจาก (Separation Anxiety)

ปัญหาการบูรณาการประสาทความรู้สึกในเด็กอัจฉริยะ ปัญญาเลิศ (Gifted Child)

เด็กคลอดก่อนกำหนด และเด็กอัจฉริยะ ปัญญาเลิศ (Gifted Children)

The Vestibular Sense/ระบบรักษาสมดุลการทรงตัว

ปัญหาการบูรณาการประสาทความรู้สึกพื้นฐานในเด็กที่คลอดก่อนกำหนด

The Tactile Sense; ระบบการรับสัมผัส

The Proprioceptive Sense ระบบกล้ามเนื้อ เอ็น และข้อต่อ

ปัญหาพฤติกรรม (Behavior problems) ที่พบร่วมกับการบูรณาการประสาทความรู้สึกที่บกพร่อง (SID)

ปัญหาในการบูรณาการณ์ประสาทความรู้สึกพื้นฐานของเด็กที่ควรรู้

ภาวะหลีกหนีการสัมผัส TD

Sensory Integration & Sensory Integration dysfunction

ทักษะการเขียน : Handwritting

Special Education

สินค้า

 Siren Whistle

สถิติ

เปิดเว็บ03/08/2010
อัพเดท10/11/2023
ผู้เข้าชม1,009,275
เปิดเพจ1,229,607

คำแนะนำสำหรับครูและผู้ปกครองในการช่วยเหลือเด็กที่มีปัญหาการเขียน

คำแนะนำสำหรับครูและผู้ปกครองในการช่วยเหลือเด็กที่มีปัญหาการเขียน

Common Handwriting Issues

                เด็กส่วนใหญ่เรียนรู้การเขียนรูปแบบตัวอักษรที่ถูกต้องผ่านตัวอย่างที่ครูแสดงให้ดู และฝึกฝนเลียนแบบ แต่เด็กบางคนปัจจัยเหล่านี้อาจขัดขวางการเรียนรู้การเขียนของเด็ก

  • เด็กไม่สามารถจับดินสอที่มีขนาดใหญ่ หรือขนาดปกติทั่วไปได้ --- ให้เด็กใช้ดินสอขนาดเล็ก (golf pencils) จะช่วยให้เด็กควบคุมการเคลื่อนไหวได้ดีขึ้น กว่าดินสอขนาดทั่วไป
  • เด็กที่เคลื่อนไหวทั้งแขนขณะเขียน – ให้เด็กเขียนในท่านอนคว่ำลงบนพื้นลงน้ำหนักที่แขนช่วยเพิ่มความมั่นคง และให้เด็กได้มีโอกาสฝึกเขียนในท่ายืน (vertical surfaces) จะช่วยฝึกการทำงานของข้อมือ และเพิ่มความมั่นคงของกล้ามเนื้อหัวไหล่
  • เด็กที่จับดินสอในท่าที่ปลายดินสอชี้ตรงขึ้น – นำหนังยางเส้นใหญ่สองเส้นมาต่อกัน สวมปลายห่วงยางด้านหนึ่งไว้ที่ข้อมือเด็ก และปลายหนังยากอีกข้างมัดไว้ที่ดินสอให้แนวปลายดินสอชี้เข้ามาที่หัวไหล่ของเด็ก
  • เด็กจับดินสอเขียนโดยที่นิ้วนางและนิ้วก้อยกางเหยียดออกมา –- ใส่ฟองน้ำชิ้นเล็กๆ ไว้ที่นิ้วนางและนิ้วก้อยให้เด็กกำไว้ขณะเขียน
  • เด็กที่เขียนหนังสือกดแรงมากๆ – ฝึกให้เด็กใช้ดินสอกด หรือเขียนบนกระดาษที่รองด้วยแผ่นโฟมพลาสติกเรียบ
  • เด็กที่เขียนลงน้ำหนักน้อยเกินไก – ฝึกให้เด็กใช้ดินสอที่มีน้ำหนัก หรือใช้ที่จับดินสอ (pencil grip)  
  • เด็กที่เขียนตัวอักษรกลับด้าน -- ให้เลือกฝึกเขียนตัวอักษรให้ถูกต้องเพียง 1 ตัวอักษรต่อครั้ง ฝึกเขียนตัวอักษรขนาดใหญ่บนกระดานเป็นประจำ ใช้จุดสีหรือสัญลักษณ์เข้ามาช่วยให้เด็กเข้าใจทิศทางจุดเริ่มต้น
  • เด็กนั่งในท่าทางที่ไม่เหมาะสม – ท่าที่ไม่เหมาะสมอาจเป็นอุปสรรคต่อการเขียนของเด็กได้ ควรให้เด็กนั่งบนเก้าอี้โดยฝ่าเท้าวางบนพื้น ข้อเข่าและข้อสะโพกงอในมุม 90 องศา
  • เด็กวางตำแหน่งกระดาษไม่ถูกต้อง – เด็กที่ถนัดขวาให้วางกระดาษขนานกับโต๊ะ เด็กที่ถนัดซ้ายให้เอียงปลายกระดาษด้านบนมุมซ้ายชี้สูงกว่าด้านขวา
  • เด็กที่มักละเลยมือช่วยทาบกระดาษขณะเขียน – ฝึกให้เด็กเกิดทักษะใช้มือทาบกระดาษ หรืออาจติดเทปช่วยยึดกระดาษกับโต๊ะเพื่อให้ง่ายต่อการฝึกเขียนของเด็ก
  • เด็กจับดินสอชิด หรือห่างจากปลายดินสอมากเกินไป – ใช้หนังยางขนาดเล็กมัดตรงตำแหน่งที่เด็กควรจับ และสอนให้เด็กตระหนักเรียนรู้ตำแหน่งการจับที่ถูกต้อง

 

เรียบเรียงจากบทความ Pre-K and Kindergarten Handwriting Resource โดย Mind Brain & Body กรกฎาคม 2561

view

 หน้าแรก

 บทความ

 เว็บบอร์ด

 รวมรูปภาพ

 ติดต่อเรา

view